ADVERBS: อะไรคือคำกริยาวิเศษณ์
ในภาษาอังกฤษ คำกริยาวิเศษณ์คือคำที่อธิบายคำกริยา (he runs quickly) คำคุณศัพท์ (very hot) คำวิเศษณ์ (finished too quickly) หรือแม้แต่ทั้งขยายทั้งประโยค (Luckily, I passed the exam) ในกรณีส่วนใหญ่ คำวิเศษณ์จะลงท้ายด้วย -ly แต่คำกริยาวิเศษณ์บางคำ (เช่น fast) จะมีลักษณะเหมือนกับคำคุณศัพท์ทุกประการ
ในทางไวยากรณ์แล้ว คำวิเศษณ์เหล่านี้แยกเป็นหมวดหมู่ เนื่องจากทำหน้าที่เป็นทั้งคำสันธาน (คำที่เชื่อมโยง) และคำวิเศษณ์ (คำขยาย)
กริยาวิเศษณ์ในภาษาอังกฤษสามารถแบ่งออกได้เป็นหลากหลายประเภท – บอกระดับ บอกความถี่ บอกอาการ บอกสถานที่ บอกเวลา บอกระยะเวลา เชื่อมประโยค และบอกการตอบรับหรือปฏิเสธ
ก่อนที่เราจะพูดถึงประเภทของกริยาวิเศษณ์ ลองมาดูหน้าที่ของกริยาวิเศษณ์ในประโยคกันก่อน
ลองตรวจสอบหน้าที่ของกริยาวิเศษณ์ด้านล่างนี้
1. กริยาวิเศษณ์สามารถใช้ขยายคำกริยา.
The dog barks loudly after he saw the stranger standing outside. (The adverb loudly modifies the verb bark by telling how.)
Wash your hands first and then eat your breakfast. (The adverb first modifies the verb wash, and the adverb then modifies the verb eat. Both modify the verbs by telling when.)
She went upstairs after her mother scolded her. (The adverb upstairs modifies the verb went by telling where.)
2. กริยาวิเศษณ์สามารถใช้เพื่อขยายคำคุณศัพท์(adjective)มักจะใช้เพื่อขยายหรืออธิบายระดับความรุนแรงของคำคุณศัพท์ที่มันขยายอยู่
Tom was almost done with his meal when I gave him the exceptionally mouth-watering chocolate cake. (The adverb almost modifies the adjective done and exceptionally modifies mouth-watering by describing the degree or intensity of the adjectives.)
Her mother was very proud of her for being an absolutely amazing chess player. (The adverb very modifies the adjective proud and extremely modifies amazing by describing the degree or intensity of the adjectives.)
3. กริยาวิเศษณ์สามารถขยายกริยาวิเศษณ์คำอื่นได้ มักจะใช้เพื่อขยายหรืออธิบายระดับความรุนแรงของกริยาวิเศษณ์ที่มันขยายอยู่
She can speak English very fluently. (The adverb very modifies the adverb thoroughly by telling to what degree.)
I was never completely unaware that the jewelry I bought was fake. (The adverb never modifies the adverb completely by telling to what degree.)
กริยาวิเศษณ์ VS คุณศัพท์ และคำนาน
จากที่เคยกล่าวไว้ในข้างต้น กริยาวิเศษณ์ของภาษาอังกฤษนั้น ส่วนใหญ่แล้วมักจะลงท้ายด้วย -ly แต่ไม่ใช่ทุกกริยาวิเศษณ์จะลงท้ายด้วย -ly อาจเป็นคำคุณศัพท์หรือคำนามก็ได้
คุณศัพท์ส่วนใหญ่ต่อท้ายด้วย -ly คือกริยาวิเศษณ์
1. คุณศัพท์: hard กริยาวิเศษณ์: hardly
2. คุณศัพท์: quick กริยาวิเศษณ์: quickly
3. คุณศัพท์: gentle กริยาวิเศษณ์: gently
4. คุณศัพท์: soft กริยาวิเศษณ์: softly
5. คุณศัพท์: loud กริยาวิเศษณ์: loudly
อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่ว่าทุกคำที่ลงท้ายด้วย -ly จะเป็นกริยาวิเศษณ์ ในบางกรณี เช่น คำนามที่ลงท้ายด้วย -ly ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นคุณศัพท์
คำนาม:
family
homily
rally
lily
silly
sly
คำคุณศัพท์:
friend + ly = friendly
world + ly = worldly
love + ly = lovely
mother + ly = motherly
กริยาวิเศษณ์บางคำที่พบได้บ่อย และไม่อยู่ในรูปที่ลงท้ายด้วย -ly
very
quite
so
well
กริยาวิเศษณ์บางคำขยายประโยคให้กลายเป็นทางตรงข้าม
hardly
never
no
not
scarcely
หมายเหตุ เมื่อใช้กริยาวิเศษณ์ที่มีความหมายเชิงลบ (ทำให้ประโยคกลายเป็นความหมายตรงข้าม) โปรดระวังไม่ให้ให้ใช้กริยาวิเศษณ์เชิงลบสองคำ
(เมื่อใช้จะทำให้ความหมายไม่สมบูรณ์)
I can’t hardly understand what he is talking about.
(ประโยคที่ถูกต้อง)
I can hardly understand what he is talking about.
อย่างไรก็ตาม เราสามารถใช้กริยาวิเศษณ์เพื่อแสดงการเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุดได้ผ่านการเติม -er หรือ -est สำหรับเฉพาะกริยาวิเศษณ์ที่มีพยางค์เดียวเท่านั้น (เช่น quick quicker quickest)
สำหรับกริยาวิเศษณ์ที่มีมากกว่าหนึ่งพยางค์หรือสองพยางค์ขึ้นไป สำหรับการเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด จะใช้ more และ most ต่อท้ายกริยาวิเศษณ์นั้นแทน
Tess learns quickly than Tom does, but Tom gets a higher score in exams because he studies more often than Tess. Jack learns most slowly among them.
กริยาวิเศษณ์ที่ใช้เชื่อมประโยค
กริยาวิเศษณ์ที่ใช้เชื่อมประโยคใช้สำหรับการเชื่อมประโยคที่มีความเกี่ยวข้องกันเข้าด้วยกัน โดยปกติแล้วจะใช้เพื่อแสดงความความถี่ ความแตกต่าง เหตุและผล ลำดับความสำคัญ นอกเหนือจากนั้นประเภทของคำวิเศษณ์ที่ทำหน้าที่เป็นคำสันธานจะถูกเรียกว่ากริยาวิเศษณ์ที่ใช้เชื่อมประโยคหรือ Conjunction Adverb
ตัวอย่างของกริยาวิเศษณ์ที่ใช้เชื่อมประโยค:
accordingly
finally
likewise
similarly
also
furthermore
meanwhile
anyway
next
then
consequently
indeed
nonetheless
therefore
conversely
instead
otherwise
thus
กริยาวิเศษณ์ที่ใช้เชื่อมประโยคจะเชื่อมประโยคที่เป็นอิสระต่อกันให้เป็นเนื้อความเดียวกัน บางครั้ง กริยาวิเศษณ์จะถูกวางไว้ที่ตำแหน่งหน้าสุดของประโยคและต่อท้ายด้วย , (คอมม่า/Comma) หรือเมื่อวางไว้ระหว่างอนุประโยคอิสระ ให้คั่นด้วยเครื่องหมาย ; (อัตภาค/Semicolon) และต่อท้ายด้วย , (คอมม่า/Comma)
ตัวอย่างการใช้กริยาวิเศษณ์ในกรณีต่าง ๆ เพื่อให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจ
1. Ana kept talking in class; therefore, she got reprimanded by her teacher.
2. I thought she’s a good person; however, I found out she was mean and impolite.
3. Diamonds are very expensive; in fact, a 0.5-carat diamond costs about $1 500.
4. You’re my friend; nonetheless, I feel like you’re taking advantage of me.
5. The new iPhone 12 is so costly; on the other hand, its features are the best in the market so far.
กริยาวิเศษณ์บอกสถานที่และเวลา
กริยาวิเศษณ์บอกสถานที่และเวลานี้ จะถูกใช้เพื่อขยายความว่า เกิดขึ้นที่ไหน เกิดขึ้นเวลาใด เกิดขึ้นได้อย่างไร และทำไมถึงเกิดขึ้น
ตัวอย่าง:
กริยาวิเศษณ์ (คำเดี่ยว): The championship will take place tomorrow.
กริยาวิเศษณ์ (วลี): The championship will take place in the afternoon.
(ไม่มีประธานและกริยา)
กริยาวิเศษณ์ (สันธาน): The championship will take place when both teams are ready.
(เป็นกริยาวิเศษณ์สันธานเพื่อใช้เชื่อมจากประโยคหนึ่งเพื่อขยายความอีกประโยคหนึ่ง)
กริยาวิเศษณ์ที่ทำหน้าที่เป็นคำบุพบท
กริยาวิเศษณ์ที่ทำหน้าที่เป็นคำบุพบทใช้เพื่อขยายความกริยา คุณศัพท์ หรือกริยาวิเศษณ์ด้วยกันเอง ปกติแล้วจะถูกใช้เพื่อขยายว่า เมื่อใด ที่ไหน อย่างไร ทำไม หรือขอบเขตเท่าใด (จำนวนเท่าใด นานแค่ไหน หรือไกลแค่ไหน) และภายใต้เงื่อนไขใด
ขยายกริยา:
They always go \to the club \on the weekends. (Where and when we go.)
ขยายคุณศัพท์:
Lisa is very good \at dancing. (Under what condition is she good?)
ขยายกริยาวิเศษณ์:
I like sleeping early \in the evening. (How early?)
ประโยคที่ทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์
ประโยคที่ทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์ คือกลุ่มคำ หรือประโยคที่มีหน้าที่ขยายความประโยคก่อนหน้าเกี่ยวกับเวลา สถานที่ บุคคุล สาเหตุ ความถี่ หรือเงื่อนไขต่าง ๆ เช่น
The manager left before I arrived in the office. (Before I arrived in the office คือประโยคที่ทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์ ขยายความว่าเมื่อไหร่ที่เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น)
When to avoid adverbsเมื่อไหร่ที่ควรหลีกเลี่ยงการใช้
เออร์เนสต์ เฮมิงเวย์มักถูกยกเป็นตัวอย่างของนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ที่เกลียกริยาวิเศษณ์หรือคำวิเศษณ์ และแนะนำให้นักเขียนคนอื่นๆ หลีกเลี่ยง ในความเป็นจริงนั้นที่จะหลีกเลี่ยงคำวิเศษณ์โดยสิ้นเชิง บางครั้งก็จำเป็นต้องใช้มันเพื่อขยายความ และนักเขียนทุกคน (แม้แต่เฮมิงเวย์) ก็ใช้มันเป็นครั้งคราว เคล็ดลับคือการหลีกเลี่ยงคำวิเศษณ์ที่ไม่จำเป็น เมื่อคำกริยาหรือคำคุณศัพท์ของคุณดูไม่มีประสิทธิภาพหรือแม่นยำเพียงพอ แทนที่จะใช้คำวิเศษณ์เพื่อเพิ่มสีสัน ให้ลองเข้าถึงคำกริยาหรือคำคุณศัพท์ที่มีความหมายรุนแรงกว่าแทน โดยส่วนใหญ่แล้วจะได้คำที่ดีกว่าและงานเขียนจะมีพลังที่มากขึ้น
ต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมภาษาอังกฤษหรือไม่? คลิกที่นี่
You may enjoy these articles